พาดทุกคอลัมน์

วันพุธที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2568

ม.6 บวก 112 การตีความครอบจักรวาลที่หักล้างสิทธิเสรีภาพ : สมชาย ปรีชาศิลปกุล

Grand Hotel Sonnenbichl | tripadvisor.de
๑ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย[ทั่ว] สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ[ศูนย์] บดินทรเทพยวรางกูร
ตราไว้ ณ วันที่ ๖ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๖๐ [ปู้นปู้น]เป็นปีที่ ๒ ในรัชกาลปัจจุบัน ๒ หมวด ๒ พระมหากษัตริย์[หยิบยก] มาตรา ๖ องค์พระมหากษัตริย์[นั่น] ทรงดำรงอยู่ในฐานะ[นั้น] อันเป็นที่เคารพสักการะ[ไซร้] ๓ ผู้ใดจะละเมิดมิได้[หนา] ผู้ใดจะกล่าวหาหรือฟ้องร้อง[ไม่] พระมหากษัตริย์[ผู้ทรงชัย] ในทางใด ๆ มิได้[ใครขอเรียน] สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย หมวด ๓ มาตรา ๓๔ [ความ]บุคคลย่อมมีเสรีภาพ[แลกเปลี่ยน]
ในการแสดงความคิดเห็น[ติเตียน]
การพูด การเขียน การพิมพ์ การโฆษณา

และการสื่อความหมายโดยวิธีอื่น[มิขัด]
การจํากัดเสรีภาพดังกล่าว[เช่นดังว่า]
จะกระทํามิได้ เว้นแต่[ดังเช่นว่ามา]
โดยอาศัยอํานาจ ตามบทบัญญัติ[มาตรา]แห่งกฎหมาย[ไทย]

ที่ตราขึ้นเฉพาะเพื่อรักษาความมั่นคงของรัฐ[]
เพื่อคุ้มครองสิทธิหรือเสรีภาพของ บุคคลอื่น[ให้]
เพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน[ไว้]
หรือเพื่อ[ใช้]ป้องกันสุขภาพของประชาชน

เสรีภาพทางวิชาการย่อมได้รับความคุ้มครอง[นั่น]
แต่การใช้เสรีภาพนั้นต้องไม่ขัดต่อหน้าที่[เป็นเบื้องต้น]
ของปวงชนชาวไทยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน[ของตน]
และต้องเคารพและไม่ปิดกั้นความเห็นต่างของบุคคลอื่น[ใด]

สามัญชน
๑๕ มกราคม ๒๕๖๘
🙏💖💯💋😘🐸🐠🐬🐞🌐🌀⁉️
https://shorturl.asia/oCFIh

#การตีความครอบจักรวาล #หักล้างสิทธิเสรีภาพ ,  ม.6 บวก 112, สมชาย ปรีชาศิลปกุล, ประชาไท Prachatai.com




ประชาไท Prachatai.com 15/01/2025 · ในช่วงหลังมานี้ศาลยุติธรรมตีความข้อหา 112 ของกฎหมายอาญา ไปเกี่ยวพันกับรัฐธรรมนูญ มาตรา 6 อยู่หลายคดี เช่น การที่ศาลยุติธรรมปฏิเสธการเรียกเอกสารเพื่อต่อสู้คดีของ ‘อานนท์ นำภา’ โดยศาลอ้างมาตรา 6 ของรัฐธรรมนูญจนเกิดข้อกังขาว่าการเรียกเอกสารดังกล่าวเป็นการล่วงละเมิดกษัตริย์อย่างไร ‘สมชาย ปรีชาศิลปกุล’ เห็นว่านี่เป็นการตีความแบบครอบจักรวาลและกำลังทำให้สิทธิเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นซึ่งอีกคุณค่าหนึ่งในรัฐธรรมนูญถูกหักล้าง
.
มาตรา 6 ของรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน
.
องค์พระมหากษัตริย์ทรงดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้ ผู้ใดจะกล่าวหาหรือฟ้องร้องพระมหากษัตริย์ในทางใดๆ มิได้
.
เหตุผลครอบจักรวาล
.
มันถูกทำให้แปลว่า เราจะพูดถึง หรือแสดงความเห็น หรือจะมีท่าทีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ในทางใดๆ ที่เป็นลบไม่ได้เลย
.
ปรากฏครั้งแรกในรัฐธรรมนูญ 2475 ที่เขียนว่า
.
องค์พระมหากษัตริย์ดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะล่วงละเมิดมิได้
.
หลัก the king can do no wrong
พระมหากษัตริย์ไม่อาจจะทำความผิด
การกระทำใดๆ ก็ตามของพระมหากษัตริย์ต้องมีผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ
.
พระมหากษัตริย์จึงไม่ได้มีบทบาทในทางการเมืองโดยตรง
หลัก the king can do no wrong หมายความว่า
เมื่อพระมหากษัตริย์ไม่ได้ทำอะไรด้วยตัวเองจึงฟ้องร้องไม่ได้
.
เมื่อกษัตริย์ถูกฟ้องร้อง
.
มีการฟ้อง รัฐบาลเคยฟ้องรัชกาลที่ 7 มีคําตัดสินออกมาปี 2482
ฟ้องพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นจําเลยในเรื่องที่เป็นการกระทำส่วนพระองค์
.
กระทรวงการคลังเป็นโจทก์ฟ้อง
พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นจําเลยที่หนึ่ง
พระนางพระนางเจ้ารำไพพรรณีเป็นจําเลยที่ 2 ว่า
.
รัชกาลที่ 7 ได้โอนทรัพย์สินฝ่ายพระมหากษัตริย์ไปเป็นทรัพย์สินส่วนตัว
ศาลชั้นต้นยกฟ้อง
ศาลอุทธรณ์พิจารณาแล้วให้ยึดหรืออายัดทรัพย์สินของจําเลยทั้งหมดไว้ก่อนคําพิพากษา
ถึงที่สุดมีคําพิพากษาปี 2484 ให้ รัชกาลที่ 7 แพ้คดี
ต้องคืนเงินจำนวน 6 ล้านกว่าบาทให้พระคลังข้างที่
.
พระมหากษัตริย์สามารถถูกฟ้องได้ในเรื่องส่วนตัว
สถานะอันล่วงละเมิดมิได้ คือ
พระมหากษัตริย์ไม่อาจถูกฟ้องจากการใช้พระราชอำนาจทางการเมือง เพราะเป็นการกระทำที่เป็นไปตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ
.
รัฐธรรมนูญ 2492
.
พระมหากษัตริย์ดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะล่วงละเมิดมิได้
ผู้ใดจะกล่าวหาหรือฟ้องร้องพระมหากษัตริย์ในทางใดๆ ไม่ได้
.
บางฉบับแยกเป็น 2 มาตรา บางฉบับรวมเป็นมาตราเดียว

คุณค่าที่เสมอกัน เสรีภาพ-ล่วงละเมิดมิได้
.
รัฐธรรมนูญมาตรานี้มีสาระสำคัญ 2 ส่วน
.
ส่วนหนึ่งคือพระมหากษัตริย์ดำรงอยู่ในฐานะอันมีที่เคารพสักการะผู้ใดจะล่วงละเมิดมิได้
ส่วนที่ 2 คือ ฟ้องร้องไม่ได้
.
ไม่มีใครสามารถฟ้องร้องพระมหากษัตริย์ได้ไม่ว่าจะในทางรัฐธรรมนูญ ในทางอาญา หรือในทางแพ่ง

ทางอาญา
ทำเป็นหนังสือขอความกรุณาในการช่วยเหลือเยียวยา
ทางแพ่ง ฟ้องสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์
.
ประชาชนไม่อาจจะฟ้องร้องพระมหากษัตริย์ได้
ไม่ได้แปลว่าเราจะกล่าวถึงพระมหากษัตริย์ไม่ได้ หรือจะแสดงความเห็นวิพากษ์วิจารณ์ไม่ได้
.
มาตรา 6 มาตรา 34
สถานะอันล่วงละเมิดมิได้และเสรีภาพในการแสดงความเห็นประชาชนล้วนหลักคุณค่าในระดับรัฐธรรมนูญ

เป็นหลักคุณค่าที่เสมอกัน เราไม่อาจใช้คุณค่าหนึ่งไปทำลายคุณค่าอันใดอันหนึ่ง
.
ประชาชนมีเสรีภาพในการแสดงความเห็น แต่เสรีภาพในการแสดงความเห็นชนิดที่จะล้มล้างสถาบันพระมหากษัตริย์นั้นทําไม่ได้
สถาบันพระมหากษัตริย์ต้องเคารพเสรีภาพในการแสดงความเห็น
อันล่วงละเมิดมิได้นี่คือห้ามฟ้องคดี
.
ผู้ใดจะกล่าวหาหรือฟ้องร้องพระมหากษัตริย์ในทางใดๆ มิได้’ ไม่มีได้หรือไม่
. อำนาจตามพระราชอัธยาศัย รัฐบาลประยุทธ์ จันทร์โอชา พระราชบัญญัติจัดระเบียบบริหารราชการในพระองค์ พ.ศ.2560 พระราชกฤษฎีกาจัดระเบียบราชการและการบริหารงานบุคคลของราชการในพระองค์ พ.ศ.2560 ทำให้ การเลื่อน ลด ปลด ย้ายข้าราชการส่วนพระองค์เป็นไปตามพระราชอัธยาศัยโดยไม่จำเป็นต้องมีผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ
ระบบราชการไปสังกัดเป็นราชการส่วนพระองค์ รัฐธรรมนูญ ม.6 บวกกฎหมายอาญา ม.112 คุณค่าหนึ่งจะหักล้างคุณค่าหนึ่งไม่ได้ เราสามารถชื่นชมในแง่บวกหรือวิพากษ์วิจารณ์ในแง่ลบอย่างมีเหตุผลและข้อมูลหลักฐานสนับสนุนได้ ถ้าเรายังยึดอยู่ในระบอบประชาธิปไตยอันมีสถาบันพระมหากษัตริย์เป็นมุขและยอมรับสิ่งที่เรียกว่าเสรีภาพในการแสดงความเห็น ไม่เช่นนั้นสิ่งที่เรียกว่าเสรีภาพในการแสดงความเห็นในรัฐธรรมนูญก็จะไม่มีความหมายอะไรเลย ‘ราชาธิปไตยตามรัฐธรรมนูญ’ และ ‘การปฏิรูปอำนาจตุลาการอย่างถึงรากถึงโคน’ สิ่งที่ศาลตัดสิน ไม่เป็นไปตามหลักวิชา ความเข้าใจคนทั่วไป ไม่สอดคล้องกับคุณค่าของระบอบประชาธิปไตย
อำนาจตุลาการของไทยกําลังจะมีปัญหาแน่กับระบอบการเมืองการปกครองที่เป็นอยู่

ความเชื่อมั่นหรือความชอบธรรมของสถาบันหลายสถาบันมันลดลงหรือพังทลายลง
อำนาจตุลาการก็เป็นส่วนหนึ่ง
อนาคตข้างหน้าเราคงได้เห็นการปฏิรูปอำนาจตุลาการแบบที่มันกว้างขวาง แล้วก็ลงลึกเกิดขึ้นอย่างแน่นอน

อำนาจตุลาการไม่ควรคิดว่าตนเป็นอำนาจที่หลุดลอยจากสังคมและแตะต้องไม่ได้
เมื่อความชอบธรรมลดลงเรื่อยๆ การปฏิรูปอำนาจตุลาการแบบถึงรากถึงโคนคงต้องเกิดขึ้นไม่ช้าก็เร็ว
He is said to have booked out the entire Grand Hotel Sonnenbichl in Bavaria, Germany Credit: Represented by ZUMA Press, Inc.
He is said to have booked out the entire Grand Hotel Sonnenbichl in Bavaria, Germany Credit: Represented by ZUMA Press, Inc.
Grand Hotel Sonnenbichl 24 สิงหาคม 2022

เทรนด์ 112 พ่วงมาตรา 6 ยุคตีความครอบจักรวาล วิพากษ์คำพิพากษาคดีอานนท์ | flickr - January 14, 2025

เทรนด์ 112 พ่วงมาตรา 6 ยุคตีความครอบจักรวาล วิพากษ์คำพิพากษาคดีอานนท์ | flickr - January 14, 2025

เทรนด์ 112 พ่วงมาตรา 6 ยุคตีความครอบจักรวาล วิพากษ์คำพิพากษาคดีอานนท์ | flickr - January 14, 2025
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร
ตราไว้ ณ วันที่ ๖ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๖๐
เป็นปีที่ ๒ ในรัชกาลปัจจุบัน หมวด ๒ พระมหากษัตริย์ ------------------------- มาตรา ๖ องค์พระมหากษัตริย์ทรงดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้ ผู้ใดจะกล่าวหาหรือฟ้องร้องพระมหากษัตริย์ในทางใด ๆ มิได้ หมวด ๓
สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย ------------------------- มาตรา ๓๔ บุคคลย่อมมีเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น การพูด การเขียน การพิมพ์ การโฆษณา และการสื่อความหมายโดยวิธีอื่น การจํากัดเสรีภาพดังกล่าวจะกระทํามิได้ เว้นแต่โดยอาศัยอํานาจ ตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่ตราขึ้นเฉพาะเพื่อรักษาความมั่นคงของรัฐ เพื่อคุ้มครองสิทธิหรือเสรีภาพของ บุคคลอื่น เพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน หรือเพื่อป้องกันสุขภาพของ ประชาชน

เสรีภาพทางวิชาการย่อมได้รับความคุ้มครอง แต่การใช้เสรีภาพนั้นต้องไม่ขัดต่อหน้าที่ของ ปวงชนชาวไทยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน และต้องเคารพและไม่ปิดกั้นความเห็นต่างของบุคคลอื่น

เทรนด์ 112 พ่วงมาตรา 6 ยุคตีความครอบจักรวาล วิพากษ์คำพิพากษาคดีอานนท์ | flickr - January 14, 2025 
หมวด ๓ สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย (มาตรา ๒๕ – ๔๙)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ | cdc.parliament - 7 เม.ย. 2560 Grand Hotel Sonnenbichl | tripadvisor.de Grand Hotel Sonnenbichl 24 สิงหาคม 2022

2 ความคิดเห็น:

  1. .
    ม.6 บวก 112 การตีความครอบจักรวาลที่หักล้างสิทธิเสรีภาพ :
    สมชาย ปรีชาศิลปกุล

    รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย[ทั่ว]
    สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ[ศูนย์]
    บดินทรเทพยวรางกูร
    ตราไว้ ณ วันที่ ๖ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๖๐ [ปู้นปู้น]เป็นปีที่ ๒ ในรัชกาลปัจจุบัน

    หมวด ๒ พระมหากษัตริย์[หยิบยก]
    มาตรา ๖ องค์พระมหากษัตริย์[นั่น]
    ทรงดำรงอยู่ในฐานะ[นั้น]
    อันเป็นที่เคารพสักการะ[ไซร้]

    ผู้ใดจะละเมิดมิได้[หนา]
    ผู้ใดจะกล่าวหาหรือฟ้องร้อง[ไม่]
    พระมหากษัตริย์[ผู้ทรงชัย]
    ในทางใด ๆ มิได้[ใครขอเรียน]

    สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย หมวด ๓
    มาตรา ๓๔ [ความ]บุคคลย่อมมีเสรีภาพ[แลกเปลี่ยน]
    ในการแสดงความคิดเห็น[ติเตียน]
    การพูด การเขียน การพิมพ์ การโฆษณา

    และการสื่อความหมายโดยวิธีอื่น[มิขัด]
    การจํากัดเสรีภาพดังกล่าว[เช่นดังว่า]
    จะกระทํามิได้ เว้นแต่[ดังเช่นว่ามา]
    โดยอาศัยอํานาจ ตามบทบัญญัติ[มาตรา]แห่งกฎหมาย[ไทย]

    ที่ตราขึ้นเฉพาะเพื่อรักษาความมั่นคงของรัฐ[]
    เพื่อคุ้มครองสิทธิหรือเสรีภาพของ บุคคลอื่น[ให้]
    เพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน[ไว้]
    หรือเพื่อ[ใช้]ป้องกันสุขภาพของประชาชน

    เสรีภาพทางวิชาการย่อมได้รับความคุ้มครอง[นั่น]
    แต่การใช้เสรีภาพนั้นต้องไม่ขัดต่อหน้าที่[เป็นเบื้องต้น]
    ของปวงชนชาวไทยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน[ของตน]
    และต้องเคารพและไม่ปิดกั้นความเห็นต่างของบุคคลอื่น[ใด]
    .
    สามัญชน
    ๑๕ มกราคม ๒๕๖๘
    🙏💖💯💋😘🐸🐠🐬🐞🌐🌀⁉️
    https://shorturl.asia/oCFIh
    .
    #การตีความครอบจักรวาล #หักล้างสิทธิเสรีภาพ , ม.6 บวก 112, สมชาย ปรีชาศิลปกุล, ประชาไท Prachatai.com
    .

    ตอบลบ
  2. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยทั่ว
    สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณศูนย์
    บดินทรเทพยวรางกูร
    ตราไว้ ณ วันที่ ๖ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๖๐ ปู้นปู้นเป็นปีที่ ๒ ในรัชกาลปัจจุบัน
    https://shorturl.asia/oCFIh
    หมวด ๒ พระมหากษัตริย์หยิบยก
    มาตรา ๖ องค์พระมหากษัตริย์นั่น
    ทรงดำรงฯ
    #หักล้างสิทธิเสรีภาพ

    ตอบลบ